มร. โนริอากิ ยามาชิตะ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด แถลงสถิติการจำหน่ายรถยนต์ปี 2564 พร้อมคาดการณ์ตลาดรถยนต์ไทยปี 2565 เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2565 ในการแถลงข่าวผ่านช่องทางออนไลน์ “ปี 2564 ถือเป็นอีกปีที่เศรษฐกิจและสังคมไทยเผชิญความท้าทายจากสถานการณ์โควิด-19 อย่างไรก็ตาม จากความมุ่งมั่นพยายามของภาครัฐและบุคลากรทางการแพทย์ เราเชื่อว่าสถานการณ์กำลังจะก้าวเข้าสู่ภาวะคลี่คลาย ในส่วนของโตโยต้า เรายังคงเดินหน้าให้การสนับสนุนผ่านโครงการ ‘โตโยต้าเคียงคู่ไทย สู้ภัยโควิด-19’ โดยผนึกกำลังความร่วมมือกับผู้แทนจำหน่ายและผู้ผลิตชิ้นส่วนทั่วประเทศในการมอบรถยนต์ โตโยต้าและสิ่งของจำเป็นให้กับหน่วยงานราชการและบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า โดยเรามุ่งหวังที่จะก้าวข้ามผ่านความท้าทายครั้งนี้ไปด้วยกัน”
สถิติการขายรถยนต์ในปี 2564
ปี 2564 เป็นปีที่สถานการณ์โรคโควิด-19 ยังคงส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังเกิดปัญหาการขาดแคลนชิ้นส่วนการผลิต เช่น ปัญหาชิปขาดตลาด ด้วยเหตุนี้ ยอดขายรวมภายในประเทศจึงอยู่ที่ราว 759,119 คัน หรือลดลง 4.2% เมื่อเทียบกับปี 2563
สถิติการขายรถยนต์ในปี 2564 | ยอดขายปี 2564 | การเปลี่ยนแปลงเทียบกับปี 2563 |
ปริมาณการขายรวม | 759,119 คัน | – 4.2% |
รถยนต์นั่ง | 251,800 คัน | -8.4% |
รถเพื่อการพาณิชย์ | 507,319 คัน | -1.9% |
รถกระบะ 1 ตัน (รวมรถกระบะดัดแปลง) | 393,476 คัน | -3.9% |
รถกระบะ 1 ตัน (ไม่รวมรถกระบะดัดแปลง) | 341,452 คัน | -6.4% |
ส่วนแบ่งการตลาดของ Toyota ในปี 2564
สถิติการขายรถยนต์ของโตโยต้าในปี 2564 | ยอดขายปี 2564 | การเปลี่ยนแปลงเทียบกับปี 2563 | ส่วนแบ่งตลาด |
ปริมาณการขายโตโยต้า | 239,723 คัน | -1.9% | 31.6% |
รถยนต์นั่ง | 62,403 คัน | -8.4% | 24.8% |
รถเพื่อการพาณิชย์ | 177,320 คัน | +0.7% | 35.0% |
รถกระบะ 1 ตัน (รวมรถกระบะดัดแปลง) | 151,501 คัน | +1.2% | 38.5% |
รถกระบะ 1 ตัน (ไม่รวมรถกระบะดัดแปลง) | 128,639 คัน | -1.0% | 37.7% |
คาดการณ์แนวโน้มอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยในปี 2565
ประมาณการยอดขายรถยนต์ในประเทศปี 2565 | ยอดขายประมาณการปี 2565 | เปลี่ยนแปลงเทียบกับปี 2564 |
ปริมาณการขายรวม | 860,000 คัน | + 13.3% |
รถยนต์นั่ง | 292,500 คัน | + 16.2% |
รถเพื่อการพาณิชย์ | 567,500 คัน | + 11.9% |
คาดการณ์ส่วนแบ่งการตลาดของ Toyota ในปี 2565
ประมาณการยอดขายรถยนต์ โตโยต้าในปี 2565 | ยอดขายประมาณการปี 2565 | เปลี่ยนแปลงเทียบกับปี 2564 | ส่วนแบ่งตลาด |
ปริมาณการขายโตโยต้า | 284,000 คัน | + 18.5% | 33.0% |
รถยนต์นั่ง | 81,000 คัน | + 29.8% | 27.7% |
รถเพื่อการพาณิชย์ | 203,000 คัน | + 14.5% | 35.8% |
รถกระบะ 1 ตัน (รวมรถกระบะดัดแปลง) | 175,932 คัน | + 16.1% | 40.6% |
รถกระบะ 1 ตัน (ไม่รวมรถกระบะดัดแปลง) | 149,000 คัน | + 15.8% | 39.8% |
ปริมาณการส่งออกรถยนต์และการผลิตของ Toyota ในปี 2564
ปริมาณการส่งออกรถยนต์สำเร็จรูปและการผลิตของ โตโยต้าในปี 2564 | ปริมาณในปี 2564 | เปลี่ยนแปลงเทียบกับปี 2563 |
ปริมาณการส่งออก | 292,000 คัน | + 35.5% |
ยอดผลิตรวมทั้งส่งออกและการขายในประเทศ | 514,000 คัน | + 16.1% |
เป้าหมายการส่งออกรถยนต์และการผลิตของโตโยต้าในปี 2565
เป้าหมายการส่งออกรถยนต์สำเร็จรูปและการผลิตของโตโยต้าปี 2565 | ปริมาณในปี 2565 | เปลี่ยนแปลงเทียบกับปี 2564 |
ปริมาณการส่งออก | 371,000 คัน | + 27.2% |
ยอดผลิตรวมทั้งส่งออกและการขายในประเทศ | 647,000 คัน | + 25.9% |
ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนธันวาคม 2564
1.) ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 91,010 คัน ลดลง 12.6%
อันดับที่ 1 โตโยต้า | 27,150 คัน | ลดลง 18.2% | ส่วนแบ่งตลาด 29.8% |
อันดับที่ 2 อีซูซุ | 18,801 คัน | ลดลง 18.0% | ส่วนแบ่งตลาด 20.7% |
อันดับที่ 3 ฮอนด้า | 11,556 คัน | เพิ่มขึ้น 14.7% | ส่วนแบ่งตลาด 12.7% |
2.) ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 31,917 คัน ลดลง 16.3%
อันดับที่ 1 ฮอนด้า | 8,763 คัน | เพิ่มขึ้น 4.6% | ส่วนแบ่งตลาด 27.5% |
อันดับที่ 2 โตโยต้า | 7,347 คัน | ลดลง 16.6% | ส่วนแบ่งตลาด 23.0% |
อันดับที่ 3 ซูซูกิ | 2,776 คัน | ลดลง 14.8% | ส่วนแบ่งตลาด 8.7% |
3.) ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 59,093 คัน ลดลง 10.4%
อันดับที่ 1 โตโยต้า | 19,803 คัน | ลดลง 18.8% | ส่วนแบ่งตลาด 33.5% |
อันดับที่ 2 อีซูซุ | 18,801 คัน | ลดลง 18.0% | ส่วนแบ่งตลาด 31.8% |
อันดับที่ 3 ฟอร์ด | 4,117 คัน | ลดลง 10.4% | ส่วนแบ่งตลาด 7.0% |
4.) ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV)
ปริมาณการขาย 42,785 คัน ลดลง 16.9%
อันดับที่ 1 อีซูซุ | 16,908 คัน | ลดลง 21.6% | ส่วนแบ่งตลาด 39.5% |
อันดับที่ 2 โตโยต้า | 16,733 คัน | ลดลง 16.8% | ส่วนแบ่งตลาด 39.1% |
อันดับที่ 3 ฟอร์ด | 4,117 คัน | ลดลง 10.4% | ส่วนแบ่งตลาด 9.6% |
*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน: 6,280 คัน
โตโยต้า 2,459 คัน – อีซูซุ 1,990 คัน – มิตซูบิชิ 872 คัน – ฟอร์ด 707 คัน – นิสสัน 252 คัน
5.) ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 36,505 คัน ลดลง 17%
อันดับที่ 1 อีซูซุ | 14,918 คัน | ลดลง 20.5% | ส่วนแบ่งตลาด 40.9% |
อันดับที่ 2 โตโยต้า | 14,274 คัน | ลดลง 18.0% | ส่วนแบ่งตลาด 39.1% |
อันดับที่ 3 ฟอร์ด | 3,410 คัน | ลดลง 8.8% | ส่วนแบ่งตลาด 9.3% |
สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – ธันวาคม 2564
1.) ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 759,119 คัน ลดลง 4.2%
อันดับที่ 1 โตโยต้า | 239,723 คัน | ลดลง 1.9% | ส่วนแบ่งตลาด 31.6% |
อันดับที่ 2 อีซูซุ | 184,160 คัน | เพิ่มขึ้น 1.6% | ส่วนแบ่งตลาด 24.3% |
อันดับที่ 3 ฮอนด้า | 88,692 คัน | ลดลง 4.7% | ส่วนแบ่งตลาด 11.7% |
2.) ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 251,800 คัน ลดลง 8.4%
อันดับที่ 1 ฮอนด้า | 76,886 คัน | ลดลง 0.7% | ส่วนแบ่งตลาด 30.5% |
อันดับที่ 2 โตโยต้า | 62,403 คัน | ลดลง 8.4% | ส่วนแบ่งตลาด 24.8% |
อันดับที่ 3 มาสด้า | 19,800 คัน | ลดลง 20.3% | ส่วนแบ่งตลาด 7.9% |
3.) ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 507,319 คัน ลดลง 1.9%
อันดับที่ 1 อีซูซุ | 184,160 คัน | เพิ่มขึ้น 1.6% | ส่วนแบ่งตลาด 36.3% |
อันดับที่ 2 โตโยต้า | 177,320 คัน | เพิ่มขึ้น 0.7% | ส่วนแบ่งตลาด 35.0% |
อันดับที่ 3 ฟอร์ด | 32,329 คัน | เพิ่มขึ้น 8.3% | ส่วนแบ่งตลาด 6.4% |
4.) ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV)
ปริมาณการขาย 393,476 คัน ลดลง 3.9%
อันดับที่ 1 อีซูซุ | 167,180 คัน | ลดลง 0.8% | ส่วนแบ่งตลาด 42.5% |
อันดับที่ 2 โตโยต้า | 151,501 คัน | เพิ่มขึ้น 1.2% | ส่วนแบ่งตลาด 38.5% |
อันดับที่ 3 ฟอร์ด | 32,329 คัน | เพิ่มขึ้น 8.3% | ส่วนแบ่งตลาด 8.2% |
*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน : 52,024 คัน
โตโยต้า 22,862 คัน – อีซูซุ 16,439 คัน – มิตซูบิชิ 6,619 คัน – ฟอร์ด 5,025 คัน – นิสสัน 1,079 คัน
5.) ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 341,452 คัน ลดลง 6.4%
อันดับที่ 1 อีซูซุ | 150,741 คัน | ลดลง 6.0% | ส่วนแบ่งตลาด 44.1% |
อันดับที่ 2 โตโยต้า | 128,639 คัน | ลดลง 1.0% | ส่วนแบ่งตลาด 37.7% |
อันดับที่ 3 ฟอร์ด | 27,304 คัน | เพิ่มขึ้น 11.4% | ส่วนแบ่งตลาด 8.0% |